สำนวนไทย

สำนวนไทย

สำเนียงบอกภาษากิริยาส่อสกุล

หมายถึง การแสดงออกทางการพูดหรือกิริยามารยาท ที่จะชี้ให้เห็นถึงพื้นฐานการในการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: สำเนียงบอกภาษากิริยาส่อสกุล หมายถึง?, หมายถึง การแสดงออกทางการพูดหรือกิริยามารยาท ที่จะชี้ให้เห็นถึงพื้นฐานการในการเลี้ยงดู อบรมสั่งสอน

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

จีนใหม่ ซุ่มซ่ามเหมือนจีนใหม่ บอกเล่าเก้าสิบ พูดเป็นนัย ม้าดีดกระโหลก สดๆ ร้อนๆ สาวไส้ให้กากิน สิบปากว่าไม่เท่าตาเห็น เข้าหูซ้ายทะลุหูขาว ใส่หน้ากาก ไกลปืนเที่ยง ไก่แก่แม่ปลาช่อน ได้น้ำได้เนื้อ

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "สำเนียงบอกภาษากิริยาส่อสกุล"

 บทความอื่น ๆ จาก "สำนวนไทย"