สำนวนไทย

สำนวนไทย

ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี

หมายถึง มีความสำนึกในความดีของสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา กตเวที แปลว่า การตอบแทนต่อสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา คนที่มีคุณสมบัตินี้ จะทำให้ตนเองและครอบครัวพบแต่ความเจริญรุ่งเรือง พบแต่ความสำเร็จ คุณสมบัตินี้ถือว่าเป็นทรัพย์อันประเสริฐในตัวบุคคล

ที่มา พุทธสุภาษิต

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี หมายถึง?, หมายถึง มีความสำนึกในความดีของสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา กตเวที แปลว่า การตอบแทนต่อสิ่งหรือบุคคลที่มีพระคุณต่อเรา คนที่มีคุณสมบัตินี้ จะทำให้ตนเองและครอบครัวพบแต่ความเจริญรุ่งเรือง พบแต่ความสำเร็จ คุณสมบัตินี้ถือว่าเป็นทรัพย์อันประเสริฐในตัวบุคคล ที่มา พุทธสุภาษิต คำนาม คน อวัยวะ ตัว

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

คนละไม้คนละมือ จรกาหน้าหนู ชั่วเจ็ดทีดีเจ็ดหน ต้นคดปลายตรง นกต่อ พกหินดีกว่าพกนุ่น พร้าขัดหลังเล่มเดียว พ่อลิ้นทอง ย้อมแมวขาย รกคนดีกว่ารกหญ้า เลือดข้นกว่าน้ำ แก่มะพร้าวห้าว ไม่ดูดำดูดี

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ความกตัญญูกตเวทีเป็นเครื่องหมายของคนดี"

 บทความอื่น ๆ จาก "สำนวนไทย"