สำนวนไทย

สำนวนไทย

คนละไม้คนละมือ

หมายถึง ต่างคนต่างช่วยกันทำ ทำด้วยความสามัคคีกัน อย่างตั้งใจช่วยเหลือเกื้อกูลกันทำงานเพื่อผลสำเร็จ

พจนานุกรมไทย คนละไม้คนละมือ หมายถึง:

  1. (สํา) ต่างคนต่างช่วยกันทํา.

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: คนละไม้คนละมือ หมายถึง?, หมายถึง ต่างคนต่างช่วยกันทำ ทำด้วยความสามัคคีกัน อย่างตั้งใจช่วยเหลือเกื้อกูลกันทำงานเพื่อผลสำเร็จ คำนาม คน อวัยวะ มือ, ใจ ธรรมชาติ ไม้

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

กลับหน้ามือเป็นหลังมือ คลับคล้ายคลับคลา ชุบมือเปิบ ปรบมือให้ ปากว่ามือถึง ผิดฝาผิดตัว มัดมือชก มือซุกหีบ มือสะอาด แขนซ้ายแขนขวา ไม้ซีกงัดไม้ซุง ไม้ป่าเดียวกัน

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "คนละไม้คนละมือ"

 บทความอื่น ๆ จาก "สำนวนไทย"