สำนวนไทย

สำนวนไทย

ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกก็แหลกลาญ

หมายถึง คนใหญ่คนโตขัดแย้งมีปัญหากัน หรือผู้นำของแต่ละฝ่ายนั้นมีปัญหาทะเลาะกัน แต่ส่งผลให้ผู้น้อยหรือประชาชน ลูกน้องนั้นได้รับผลกระทบไปตาม ๆ กัน

 หมายเหตุ

สำนวนไทย หมายถึง ถ้อยคำ กลุ่มคำ หรือประโยคที่ไม่ได้แปลความหมายตรง ๆ แต่มีความหมายเชิงเปรียบเทียบแฝงอยู่ เช่น สอนจระเข้ให้ว่ายนํ้า รำไม่ดีโทษปี่โทษกลอง

คำสุภาษิต หรือ สำนวนสุภาษิต คือ คำในภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารเชิงเปรียบเทียบอุปมาอุปมัย มักมีความหมายในการตักเตือนสั่งสอนในทางบวก มีความหมายที่ดี เช่น รักยาวให้บั่นรักสั้นให้ต่อ น้ำเชี่ยวอย่าขวางเรือ

คำพังเพย หมายถึง ถ้อยคำหรือข้อความที่กล่าวเป็นกลาง ๆ เพื่อให้ตีความเข้ากับเรื่อง มีความหมายแฝงอยู่ อาจเป็นคำที่ใช้สื่อในทางเปรียบเปรย หรือในทำนองเสียดสี เช่น กระต่ายตื่นตูม เสียน้อยเสียยากเสียมากเสียง่าย

 ภาพประกอบ

  • สำนวนไทย: ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกก็แหลกลาญ หมายถึง?, หมายถึง คนใหญ่คนโตขัดแย้งมีปัญหากัน หรือผู้นำของแต่ละฝ่ายนั้นมีปัญหาทะเลาะกัน แต่ส่งผลให้ผู้น้อยหรือประชาชน ลูกน้องนั้นได้รับผลกระทบไปตาม ๆ กัน คำกริยา ชน

 สำนวนไทยที่คล้ายกัน

ขี่ช้างจับตั๊กแตน หมายถึงอะไร คลุมถุงชน หมายถึงอะไร ชาติเสือจับเนื้อกินเอง หมายถึงอะไร ช้างสาร งูเห่า ข้าเก่า เมียรัก หมายถึงอะไร ช้างเท้าหลัง หมายถึงอะไร รกคนดีกว่ารกหญ้า หมายถึงอะไร ฤๅษีแปลงสาร หมายถึงอะไร วัวแก่กินหญ้าอ่อน หมายถึงอะไร หญ้าปากคอก หมายถึงอะไร หมาในรางหญ้า หมายถึงอะไร หัวชนกำแพง หมายถึงอะไร โคแก่กินหญ้าอ่อน หมายถึงอะไร

หาคำศัพท์ไม่เจอ หรือยังไม่เห็นคำที่ต้องการ?

ช่วยแนะนำคำใหม่ให้เราสิ
แจ้งเพิ่มคำ

 ความคิดเห็นในหัวข้อ "ช้างสารชนกัน หญ้าแพรกก็แหลกลาญ"

 บทความอื่น ๆ จาก "สำนวนไทย"